"วิทยุชุมชนคนของแผ่นดิน นาโพธิ์เรดิโอ FM.8825MHz."รักในหลวง ห่วงชุมชน คนของแผ่นดิน สร้างถิ่นไทยเจริญ"

ฟังรายการจากวิทยุออนไลน์
Naphoradio Online 24 Hrs.
สรุปข่าวประจำวัน โดย ประสงค์ เนืองทอง
รายการ อรุณสวัสดิ์กุสุมาลย์ มณฑล

วันเสาร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ 2557 ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 3
เวลา 06.00-07.00 น.เว้นวันพฤหัสบดี และวันอาทิตย์

สุพจน์ ลอยพิลา
-เปิดโลกการศึกษาสู่อาเซี่ยน ช่วง คนกันเอง

จันทร์-ศุกร์ 14.00-15.00 น.

เมฆ เมืองนคร
-ลูกทุ่งสนธยา
-เครดิตยูเนี่ยนสัมพันธ์
จันทร์-ศุกร์ 18.00-20.00 น.

นาโพธิ์น้อย ม.7
หอกระจายข่าว
Radio Lessons and events of the Bible. ฟังรายการ"ตามรอยพระคัมภีร์ ทุกวัน

 
 




 
 
บริการดาวน์โหลด
ตารางการอบรมหลักสูตรพุทธวจน วังสวนกล้วย อ.กุสุมาลย์ จ.สกลนคร
สารวัดท่าแร่ ปีที่29 ฉบับที่25 สัปดาห์ที่12 เทศกาลธรรมดา 22-28 มิถุนายน14
สารวัดปีที่ 29 ฉบับที่ 23 สมโภชพระจิตเจ้า 8 - 14 มิถุนายน14
 
 
MovieOnline1Online 2  
TV Online
Radio Online  ชมวีดีโอ สดจากห้องส่งนาโพธิ์
Radio Vatican  
รุ่งอรุณวิทยา
วิทยุรัฐสภา
อสมท.สกลนคร
ดอกคูนเรดิโอ สัมฤทธิ์โปรโมชั่น
พันธมิตร วาริชเรดิโอ
สมาคมนักข่าวหนังสือพิมพ์ วิทยุ
     และโทรทัศน์ จังหวัดสกลนคร
วิทยุแห่งประเทศไทย จ.สกลนคร
florafm-ฟลอร่ามิวสิค
สถาบันพุทธวจนวังสวนกล้วย
ข่าวสาร จาก
วัดนักบุญ
มารีอามักดาเลนา

ประมวลภาพงานมงคลสมรสบิว
2013-11-23

รู้จัก 10 ประเทศอาเซียน
ประวัติอาเซียน10ประเทศ
Asean Radio Stations
ฟังเพลงและรายการวิทยุจากประเทศอาเซี่ยน
more Cambodia Brunei Darussalam   Myanmar
Philippines Malaysia
All Asia Radio Station Singapore Vietnam Laos

 
 


ประวัติหมู่บ้านนาโพธิ์ ตอนที่ 2

โดย ประสงค์ เนืองทอง ศศ. บ.

 


         

















































































































































 
 
 
 

 

  

โดย ประสงค์  เนืองทอง


ตอนที่ 5

จากเมืองเวเรณู … สู่
นาโพธิ์ถิ่นภูไท

พ . ศ. 2428 ค. ศ. 1885

 

เนื่องจากองค์การศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกได้เริ่มส่งบาทหลวงขึ้นมาเผยแพร่ในภาคอีสานเป็นครั้งแรก
โดยคำสั่งของสังฆราชหลุย์เวย์จากกรุงเทพฯ โดยส่งบาทหลวงอเล็กซิสโปรดมและบาทหลวงซาร์เวียร์เกโก้มายังเมืองอุบลราชธานี
ตั้งแต่ปี พ. ศ. 2424 เป็นต้นมา และตั้งวัดเผยแพร่ศาสนาคริสต์อยู่ที่บ้านบุงกะแทว
เป็นวัดแรก ครั้นถึง พ. ศ. 2426 ได้เผยแพร่และขยายขึ้นมาตามหัวเมืองในลุ่มแม่น้ำโขงได้ตั้งวัด
ศาสนาคริสต์ที่บ้านท่าแร่ ริมน้ำหนองหาร เมืองสกลนคร ใน พ. ศ. 2427 ต่อมาในปีต่อมา
พ. ศ. 2428 ได้ตั้งวัดศาสนาคริสต์ที่บ้านสองคอน เขตเมืองมุกดาหาร ต่อมาบาทหลวงซาร์เวีย์เกโก้
(Xavier Guego) ได้ตั้งวัดศาสนาคริสต์ที่เกาะดอนโดน ( กลางแม่น้ำโขงหน้าเมืองนครพนม)
และที่บ้านหนองแสงเขตเมืองนครพนม สำหรับบาทหลวงซาร์เวีย์เกโก้ผู้นี้ได้ประจำอยู่ในวัดศาสนาคริสต์
แถบลุ่มแม่น้ำโขงต่อมาถึง 20 ปีกว่า จนพูดภาษาไทยและภาษาลาวได้คล่องแคล่ว
ต่ือมาจึงปรากฏว่า บรรดาข้าทาสได้หลบหนีจากเจ้าขุนมูลนายไปหลบซ่อนอยู่กับบาทหลวงและนับถือ
ศาสนาคริสต์เป็นจำนวนมากไม่น้อย มื่อกรมการเมืองจะเข้าไปขอตรวจค้นหรือสอบสวนว่ามีข้าทาษได้
หลบหนีเจ้าขุนมูลนายหรือกรมการเมืองจะเข้าไปเกณฑ์แรงงาน หรือเก็บส่วยพวกที่เข้ารีตนับถือศาสนา
คริสต์ บาทหลวงก็ไม่ให้ความร่วมมือ จึงเกิดวิวาทบาดหมางระหว่างกรมการเมือง และบาทหลวงอยู่เนืองๆ
จนมีการฟ้องร้องกันลงไปที่กรุงเทพฯ หลายครั้งหลายหน จนต่อมาพระยามหาอำมาต์( หรุ่น ศรีเพ็ญ)
ข้าหลวงใหญ่ที่ประจำอยู่ที่นครจำปาศักดิ์และพระยาราชเสนา ( ทัด ไกรฤกษ์)
ข้าหลวงที่ประจำอยู่ที่ เมืองอุบลราชธานีต้องส่งตลาการมาตัดสินที่เมืองนครพนม
ในคดีพิพาทระหว่างบาทหลวงและกรมการเมืองนครพนม

 

พ . ศ.2430 ค. ศ.1887

กลุ่มคริสตังบ้านนาโพธิ์กลุ่มหนึ่งเป็นทาสมาจากเมืองเว ในอำเภอเรณู จังหวัดนครพนม ก่อนหน้า
ที่จะอพยพมาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านนาโพธิ์นั้น พวกเขาทราบว่าได้มีการเลิกทาสแล้ว แต่ที่เมืองเว
เรณูนคร ยังมีการใช้ทาสอยู่ จึงได้ส่งตัวแทนของทาสมาติดต่อกับคุณพ่อยอแซฟ กอมบูริเออ
สามครั้งด้วยกัน โดยใช้ช่วงเวลาที่พวกเขาไปนอนเฝ้าวัวควาย( เฝ้าฮ้าง) เดินทางจากเมืองเว
มาพบคุณพ่อที่ท่าแร่ จนปี 1887( พ. ศ.2430)
คุณพ่อกอมบูริเออจึงได้ไปรับพามาอยู่ที่บ้านท่าแร่ก่อน แล้วจึงหาที่ให้เขาทำมาหากินต่อไป
โดยให้พักอาศัยอยู่บริเวณหนองแร่ติดหนองหารด้านทิศตะวันออกของบ้านท่าแร่ในระยะเริ่มแรก
เพื่อเรียนคำสอนa ประมาณ 2 ปีเศษ* จากนั้นจึงย้ายผู้คนมาตั้งบ้านเรือนอยู่บ้าน นาโพธิ์ในปัจจุบัน
โดยช่วงแรกๆ ยังคงดินทางไปร่วมพิธีมิสซาที่ท่าแร่* คุณพ่อจึงให้เขาตั้งหลักแหล่งที่นั่นในปี ค. ศ. 1888
( พ. ศ.2431)
ในชั้นแรกมี ประมาณ 20 ครอบครัว เป็นชาวโซ่และชาวภูไทปนกัน แต่ชาวบ้านพูดภาษาภูไทเป็นภาษา
พื้นบ้าน ส่วนนามชื่อของวัดนั้นได้เลือกนักบุญมารีอา มักดาเลนาให้เป็นองค์อุปถัมภ์

พ . ศ.2430 ค. ศ.1888 น

ไม่นานหลังจากที่ผมได้มาอยู่ที่บ้านคำเกิ้มคือในช่วงต้นเดือนธันวาคม ค. ศ.1887 นั้นคุณพ่อเกโก มีเรื่องใหญ่กับเจ้าหน้าที่เมืองนครพนมคือเรื่องการจ่ายข้าวสองหมื่นซึ่งทุกคนจะต้องจ่ายในแต่ละปี
ให้แก่คลังข้าวของเมืองพวกสมัครเรียนคำสอนจากปากบังเหียนได้จ่ายส่วนของพวกเขาอย่างเป็น
ทางการสำหรับพวกที่อยู่ทางฝั่งขวาด้วยแต่เจ้าหน้าที่ไม่พอใจกับจำนวนสองหมื่นเท่านั้นแต่ต้อง
การตบภาษีมากกว่า โดยเรียกว่าขี้หนูซึ่งถือว่าเป็นการใช้อำนาจเกินควร คุณพ่อเกโกได้ไปพร้อม
กับคน พวกนี้ที่นครพนมเพื่อต่อสู้กับเจ้าหน้าที่สำหรับพวกเขาและไม่เห็นด้วยกับการจ่ายภาษีขี้หนู
นี้เมื่อเป็น เช่นนี้เจ้าหน้าที่จึงจับคริสตังสำรองของคุณพ่อเกโก 5-6 คนขังคุกตามกฎหมายคุณพ่อ
กระทำถูกต้องแต่สู้อำนาจของเขาไม่ได้คุณพ่อจึงต้องคอตกกลับไปคำเกิ้มและได้เล่าเรื่องทั้งหมด
นี้ให้ผมฟัหลังจากที่ได้พิจารณาเรื่องนี้อย่างถี่ถ้วนอีกครั้งได้มีการตกลงกันว่าคุณพ่อจะต้องเดิน
ทางไปอุบลฯเพื่อรายงาน เรื่องราวให้คุณพ่อโปรดมได้รับทราบซึ่งขณะนั้นกำลังเตรียมตัวเดินทาง
ไปกรุงเทพฯพอดเพื่อขอให้ท่านนี นำเอาเรื่องการกระทำของเจ้าหน้าที่เมืองนครพนม้ไปเรียน
ให้กระทรวงการต่างประเทศของสยามได้ทราบ คุณพ่อเกโก ไปถึงอุบลฯหลังจากที่คุณพ่อ
โปรดมได้ออกเดินทางไปกรุงเทพฯแล้ว กระนั้นก็ดคุณพ่อได้ไปฟ้องกระทรวงการต่างประเทศ
อยู่ดีโดยผ่านทางพระยาราชเสนาตัวแทนของพระมหากษัตริยสยามที่อุบลฯ โดยขอร้องให้ท่าน
ส่งเรื่องราวต่อไปที่กรุงเทพฯให้ ซึ่งท่านยินดีทำให้แต่ที่มากไปกว่านั้นคือท่านได้มีจดหมาย
ไปถึงเจ้าหน้าที่เมืองนครพนมเพื่อเตือนพวกเขาให้เพลาๆมือลงหน่อยโดยบอกพวกเขาถึงการ
ที่ท่านบาทหลวงเกโกได้กล่าวโทษพวกเขาและบอกให้พวกเขารอคำตอบจากราชสำนัก
ซึ่งจะมาถึงภายในไม่ช้านี้

คำตอบจากกรุงเทพฯมาถึงพระยาราชเสนา ในเดือนมิถุนายน ค. ศ.1888 โดยสั่งให้จัดการเรื่องนี้ให้
คำตัดสินให้เจ้าหน้าที่เมืองนครพนมยังคงปกครองต่อไปไดแต่เรื่องนี้ได้เป็นเหตุให้เจ้าหน้าที่เมือง
นครพนม้ ใช้เป็นข้ออ้างในการเบียดเบียนคริสตังสำรอง อย่างไรก็ดพระเป็นเจ้าได้ทรงยื่นพระหัตถ์
เข้าช่วยโดยทรงให้เกิดมีความตายอย่างน่าพิศวงกับ 3 ใน 4 ของเจ้าหน้าที่ที่เบียดเบียน

 

พ . ศ. 2437 ค. ศ. 1894

ชาวภูไทอีกกลุ่มหนึ่ง จากเมืองเว เรณูนคร ประมาณ 7-8 ครัวเรือน เดินทางมาตั้งบ้านเรือนเพิ่มโดย
มีพ่อเฒ่าแค้น พ่อเฒ่าหลอย พ่อเฒ่าสีกา แม่เฒ่าหล้า พ่อปัด พ่อเฒ่าป้อม นามสกุลโพธิ์ดำ
พ่อเฒ่าสีทองแดง พ่อเฒ่าสาง แม่เฒ่าบุดดา พ่อเฒ่าเหลียว นามสกุลมหัตกุล พ่อเฒ่าสาง
นางคำตา( ไม่ทราบนามสกุลเดิม) รวมอยู่ในครั้งนั้นด้วย ซึ่งต่อมาได้แต่งงานกับนายหนั่น เนืองทอง
และมีบุตร อันได้แก่ นายเลา เนืองทอง และญาติพี่น้องอีกหลายคน ( ปู่คือ นายเลา เนืองทอง
อายุ 84 ปี เล่าให้ผู้เขียนฟัง เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2528 ขณะนั้นมีอายุ 80 ปี พ่อคือ
นายหนั่น เนืองทอง เป็นชาวพม่า มาจากเมือง มอระแม กุลาก็คือพวกพม่า
ที่ชอบค้าขายและเดินทางอยู่เสมอๆ กุลาอีกกลุ่มหนึ่งเป็นข้า ( ทาส) ของอ๋องไห ข่าจะลี
ข่าตะโอ๊ยจากจำปาศักดิ์* )

มาอาศัยอยู่ จากคำบอกเล่าของนายหัสดี เล่าว่าก่อนที่จะดินทางไปท่าแร่นั้นได้มาหยุดพักที่บ้าน
นาโพธิ์ในปัจจุบันก่อนโดยใช้เวลานานเท่าใดไม่ปรากฏ ( ผู้เขียนสันนิษฐานว่าน่าจะไม่เกินสองถึงสามเดือน)
เพื่อได้ทำการล่าสัตว์เป็นอาหาร และสะสมสะเบียงในการเดินทางเนื่องจากในที่บริเวณแห่งนี้มีสัตว์ป่า
มากมายหลายชนิด จากนั้นจึงเดินทางต่อไปพักครอบครัวเพื่อหาที่ทางทำมาหากินอยู่ที่บ้านโพนงาม อำเภอโพนนาแก้วในปัจจุบัน ซึ่งได้ใช้เวลาอยู่ที่นี่ไม่นาน ทำมาหากินไม่สะดวกเพราะมีแต่กุ้งหอยปูปลา
ไม่มีที่ล่าสัตว์ป่า กอรปกับไม่คุ้นเคยกับการใช้ชีวิต ตามแบบอย่างของชาวท่าแร่ที่อยู่เดิม
จึงตกลงใจชักชวนกันย้ายกลับมาตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนรวมกับผู้ที่อยู่เดิม
33 จากคำบอกเล่าของนางสิงห์คำ สูตรสุคล อายุ 84 ปี ที่ได้ยินนายกงจันทร์ เนืองทอง
ผู้เป็นบิดาและเป็นหนึ่งในกลุ่มผู้อพยพมาในครั้งนั้นเล่าให้ฟังเวลาเป็นเด็กทำให้ทราบว่า
คุณพ่อกอมบูริเออประสงค์จะให้ชาวนาโพธิ์ตั้งหลักแหล่งอยู่บริเวณหนองแร่ใกล้ท่าแร่เพื่อ
ความสะดวกในการดูแลและอภิบาล แต่พวกเขาไม่สามารถอยู่ไดแม้บริเวณดังกล่าว้ในสมัยนั้น จะอุดมด้วยสัตว์น้ำนานาชนิดเนื่องจากอยู่ติดหนองหารแต่ปัญหาใหญ่ที่ทำให้พวกเขาตัดสิน ใจย้ายไปอยู่ที่ใหม่อันเป็นที่มาของบ้านนาโพธิ์ในปัจจุบันเพราะบริเวณที่พวกเขาอยู่ในระยะ เริ่มแรกไม่มีที่สำหรับทำไร่ทำนาประกอบกับเมื่อถึงฤดูฝนน้ำจะท่วมถึงทำให้ไมสะดวก
ใน การตั้งหลักแหล่งในบริเวณดังกล่าว

จากหลักฐานทะเบียนศีลล้างบาปที่บันทึกโดยคุณพ่อกอมบูริเออในโอกาสสมโภชพระนางมารีย์
รับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ วันที่ 15 สิงหาคม ค. ศ.1888 ( พ. ศ. ๒๔๓๑)คุณพ่อได้โปรดศีลล้างบาป
แก่คริสตชนชาวนาโพธิ์กลุ่มแรกจำนวน 8 คน ที่วัดมหาพรหมมีคาแอล หนองหาร จนถึงเดือน
มิถุนายนค. ศ.1889 ( พ. ศ.2432)มีผู้รับศีลล้างบาปเพิ่มอีกรวมจำนวน 11 คนแสดงว่าคริสตชน
ชาวนาโพธิ์ตั้งหลักแหล่งอยู่บริเวณหนองแร่ประมาณ 2 ปี ที่สุด คริสตชนใหม่และผู้เตรียมตัวเป็น
คริสตชนประมาณ 20 ครอบครัว ราว 120 คนได้ย้ายไปหาที่ทำกินใหม่ที่เหมาะสมและอุดมสมบูรณ์
กว่าบริเวณลำห้วยโพธิ์ ห้วยลึก และห้วยจับห่างจากบ้านท่าแร่ไปทางทิศตะวันออกประมาณ 15
กิโลเมตรซึ่งสมัยนั้นยังคงเป็นป่าทึบมีสัตว์ป่านานาชนิดเนื่องจากบริเวณดังกล่าวเต็มไปด้วย ต้นโพธิ์
จึงได้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “ นาโพธิ์” ในชั้นแรกคุณพ่อกอมบูริเออ คงไม่เห็นดีด้วยเห็นได้จากลักษณะ
การก่อตั้งบ้านเรือนของชาวนาโพธิ์ไม่มีการวางผังที่เป็นระเบียบสวยงามเหมือนวัดท่าแร่ ช้างมิ่ง
นาบัวและทุ่งมน ที่คุณพ่อได้ก่อตั้ง

ในระยะนั้นชาวบ้านที่ย้ายมาอยู่ใหม่นับถือศาสนาคริสต์ ส่วนหนึ่งสมัครใจนับถือศาสนา
อีกส่วนหนึ่งที่อยู่เดิมแยกไปตั้งบ้านเรือนที่อื่น ( จากการสัมภาษณ์นายหัสดีและนายสนาม
ทำให้ผู้เขียนสันนิษฐานว่า ส่วนหนึ่งน่าจะย้ายไปตั้งเป็นบ้านม่วงในปัจจุบัน)

 

พ . ศ. 2432 ค. ศ. 1889

จากนั้นชาวบ้านที่เหลือก็พร้อมใจกันสร้างวัดประจำหมู่บ้านขึ้น สมัยนั้นมีต้นไม้ใหญ่เป็นป่าทึบ
ปกคลุมไปทั่ว บริเวณที่ตั้งวัดก็เป็นป่าหนาม( ชาวบ้านเรียกว่าหนามสะหลองคอง) บ้านเรือน
ผู้คนก็ตั้งอยู่รวมๆกัน ใกล้ๆ กับบริเวณที่สร้างวัด คุณพ่อขวัญ ถิ่นวัลย์ ได้รวบรวม
ข้อมูลประวัติของหมู่บ้านไว้ว่า

คุณพ่อกอมบูริเออ ได้สร้างวัดหลังแรกขึ้นตรงกลางหมู่บ้าน มีลักษณะเป็นโรงเรือนหลังคามุง
จากฝาขัดแตะขนาด 4 ห้อง โดยมีพิธีเสกและเปิดวัดใหม่พร้อมกับการล้างบาปคริสตชน
กลุ่มแรก ณ ดินแดนใหม่นี้จำนวน 19 คน ซึ่งตรงกับวันฉลองนักบุญมารีอามักดาเลนา
วันที่ 22 กรกฎาคม ค. ศ.1889 ( พ. ศ.2432) ดังปรากฎในทะเบียนศีลล้างบาป
ที่บันทึกโดยคุณพ่อกอมบูริเออ วัดนี้จึงได้นาม “ นักบุญมารีอามักดาเลนา”
เป็นองค์อุปถัมภ์ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา และคุณพ่อกอมบูริเออได้มอบหมาย
ให้อยู่ในความดูแลของครูคำสอนคนหนึ่งที่ชื่อ “ ครูหยุย”

พ . ศ. 2439 ค. ศ. 1896

โปรดเกล้าให้เมืองวาริชภูมิ เมืองขึ้นเมืองหนองหาร มาขึ้นกับเมืองสกลนครเปลี่ยนแปลง
ให้เมืองกุสุมาลย์ และเมืองโพธิไพศาลไปขึ้นกับเมืองนครพนม

 

พ . ศ. 2446 ค. ศ. 1903

เมืองสกลนครเกิดฝนแล้ง ทั้งโค ทั้งกระบือ เกิดโรคระบาด การทำนาไม่ได้ผล
ราษฎรอาศัยบริเวณหนองหารทำนาแซง ประทังความอดอยากไปได้ปีหนึ่ง

พ . ศ. 2448 ค. ศ. 1905

สมัยที่บาทหลวงกังเซเป็นคุณพ่อเจ้าวัด ชาวบ้านเริ่มมีความศรัทธาและมีการสร้างบ้านเรือน
เพิ่มมากขึ้น นายเลา เนืองทอง เล่าว่าปีนี้เป็นปีที่เกิด พอโตขึ้นมีอายุหกปีก็เป็นเด็กช่วยมิสซา
และมีแม่กับพี่เป็นครูคำสอน มิสซาในช่วงนี้ใช้ภาษาลาติน คุณพ่อจะหันหน้าสู่พระแท่นและ
หลังให้ชาวบ้าน มิสซาวันธรรมดาจะตีกลองหนึ่งใบ ส่วนวันอาทิตย์จะตีกลองสามใบแทนเสียงระฆัง

พ . ศ. 2449 ค. ศ. 1906

พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย เสด็จมาตรวจ
ราชการ ถึงบริเวณสกลนครประทับอยู่ 2 วัน แล้วเสด็จไปนมัสการพระธาตุพนมบรมเจดีย์

พ . ศ. 2450 ค. ศ. 1907

วันที่ 13 มกราคม เวลาย่ำรุ่ง ออกจากกุรุคุทางขึ้นเนินป่าไม้เต็งไปตามทางสายโทรศัพท์ ถึงห้วยหิน
สะแนนเวลา 2 โมงเช้า 15 นาที ระยะทาง 410 เส้น มีราษฎรมาคอยรับผู้ใหญ่บ้านผู้หนึ่ง
ดัก ได้นกอินทรีคู่หนึ่งมาให้ ในหมู่ราษฎรมีคนไทยโย้ยคนหนึ่งแต่งตัวอย่างคนพื้นเมือง
ว่ามาจากเมือง อากาศอำนวย กับมีพวกกะโซ้ซึ่งจะได้พบต่อไปมาด้วย เวลาเช้า 3 โมง 40 นาทีออก
จากห้วยหินสะแนน ขึ้นโคกไม้เต็งรังต่อไป เข้าเขตเมืองโพธิไพศาลซึ่งเป็นเมืองเล็กๆ อย่างตำบลกำนัน
แห่งหนึ่งแต่ทางที่มานี้ไม่ได้ผ่านบ้านผู้คนแล้วข้ามห้วยทวยเขตเมืองโพธิไพศาลกับเมืองกุสุมาลย์
มณฑลทาง วันนี้ 670 เส้น พระอรัญอาสา ผู้ว่าราชการเมืองกุสุมาลย์กับกรมการกำนันผู้ใหญ่บ้าน
และราษฎต่อกันเวลาเช้า 4 โมง 40 นาทีถึงที่พักแรมณ เมืองกุสุมาลย์มณฑลระยะทาง 260เส้นรวม
ระยะชาย หญิงพากันมารับเป็นอันมาก ชาวเมืองนี้เป็นข่าที่เรียกว่ากะโซ้เดิมมาจากเมืองมหาชัยกองแก้ว
ผู้หญิง ไว้ผมสูงแต่งตัวนุ่งซิ่นสวมเสื้อกระบอกย้อมครามห่มผ้าแถบผู้ชายแต่งตัวอย่างคนชาวเมืองแต่เดิม
ว่านุ่งผ้าขัดเตี่ยวไว้ชายข้างหน้าชายหนึ่งข้างหลังชายหนึ่งมีภาษาพูดที่คล้ายสำเนียงมอญ แล้วพวก
ผู้ชายมการเล่น เรียกว่าสะลาคือมีหม้ออุตั้งกลาง แล้วคนต้นบทคนหนึ่งคนสะพายหน้าไม้และลูก
สำหรับยิงคนหนึ่ง คนตีฆ้องซึ่งเรียกว่าพะเนาะคนหนึ่งคนถือไม้ไผ่ท่อนสามปล้องสำหรับ กระทุ้งดิน
ี่เป็นจังหวะสองคน คนถือชามสองมือสำหรับติดเทียนรำคนหนึ่งคนถือก้นตะแกรงขาด สองมือสำหรับ
รำคนหนึ่งแล้วคนถือมีดถือสิ่วหักสำหรับเคาะจังหวะคนหนึ่ง รวม 8 คนเดินร้อง รำเป็นวงเวียนไปมา
พอได้พักหนึ่งก็ดื่มอุแล้วร้องรำต่อไป ดูสนุกกันเองไม่ใคร่อยากเลิกเวลาเลิก แล้วก็ยังฟ้อนกันเรื่อย
ตลอดทางไป พวกข่ากะโซ้นี้กินอาหารไม่ใคร่เลือก มีเรื่องเล่ากันว่าเมื่อกรมหลวงประจักษ์ฯ
เป็นข้าหลวง พระอรัญอาสา ผู้ว่าราชการเมืองกุสุมาลย์คนนี้ไปเฝ้าฯรับสั่งไต่ถาม ถึงขนบธรรมเนียม
ของพวกข่ากะโซ้ ไล่เลียงกันไปจนถึงอาหารที่ชอบบริโภค พระอรัญอาสาทูลว่า“ ชอบเจียะจอ”
( คือชอบบริโภคเนื้อสุนัข) ไม่ทรงเชื่อ พระอรัญอาสารับจะบริโภคถวายทอดพระเนตรจึงให้
ไปหาเนื้อ “ จอ” มาเลี้ยง นัยว่า เมื่อพระอรัญอาสาบริโภคเนื้อจอนั้น พวกข้างในตำหนักดูอยู่
ไม่ได้ถึงต้องวิ่งหนี เล่ากันดังนี้

เวลาบ่าย 4 โมงไปที่วัดกลาง มีพระ 4 รูป เณร 3 รูป วัดในมณฑลนี้มักมีพระอยู่กรรม เรียกว่า “ พลวง”
เป็นประทุนเล็กๆ พื้นฟากเฉพาะนอนคนเดียวเหมือนอย่าประทุนเกวียน มีวัดละหลายๆหลัง มักทำราย
ไปรอบโบสถ์ เวลาเข้าพรรษาพระภิกษุไปกอยู่กรรม เจขามักว่ามีคนศรัทธาไปปฏิบัติถือกันว่าได้บุญ
มาก แล้วไปดูหมู่บ้านราษฎรจนถึงทุ่งนาริมห้วยเสอเพลอ เมืองกุสุมาลย์มณฑลนี้เดิมเรียกว่าบ้าน
กุดมาร ยกขึ้นเป็นเมืองขึ้นของเมืองสกลนคร เห็นจะเป็นเมื่อในรัชกาลที่ 4 ราษฎรชาวเมืองมี
จำนวน 2171 คน เลี้ยงโคกระบือและสุกรเป็ดไก่ถึงได้ขายแก่คนเดินทางบ้าง กับทำนา
และ ข้าวไร่พอเลี้ยงกันเอง

 

เมืองสกลนคร

วันที่ 14 มกราคม เวลาย่ำรุ่ง ออกจากที่พักเมืองกุสุมาลย์มณฑล ถึงห้วยหลัวเป็นเขตเมืองกุสุมาลย์
กับเมืองสกลนครต่อกัน หลวง พิไสยสิทธิกรรม ข้าหลวงบริเวณสกลนครมาคอยรับ มีราษฎร

ชายหญิงมารับด้วย เดินทางต่อไปถึงทางแยกที่ตัดใหม่ไปท่าแร่ แยกจากทางสายโทรศัพท์มาถึงตำบล
บ้านท่าแร่ มีราษฎรมาคอยรับอีกเป็นอันมากแลที่นี้มีวัดโรมันคาธอลิก เรียกชื่อว่า“ เซนต์ไมเคิลโบสถ์ก่อ”
ผนังด้วยศิลาแลง เพราะตำบลท่าแร่นี้มีศิลาแลงมาก บาทหลวงโยเซฟกอบบุรีเออ ซึ่งมาสอนศาสนา
อยู่ 22ปีเศษแล้วกับบาทหลวงผู้ช่วยอีก2คนได้มาคอยรับแล้วเชิญขึ้นไปบนที่อยเห็นบาหลวงรูปหนึ่ง
ป่วยเป็นไข้จนผิวเหลือง จึงให้หมอแบรดด๊อกไปตรวจและให้ยาด้วยที่วัดบาทหลวงท่าแร่ มีญวณเข้ารีต
166 คน คนพื้นเมือง 1504 คน ระยะทางตั้งแต่เมืองกุสุมาลย์มาบ้านท่าแร่ 506 เส้น ถึงเวลาเช้า 3 โมง
เศษ พักกินข้าวเข้าแล้ว เ วลาเช้า 4 โมง ลงเรือข้ามหนองหารไปขึ้นฝั่ง เมืองสกลนครหนองหาร
เมืองสกลนครนี้กว้างใหญ่ไพศาลมากมีเขาภูพานอยู่ ู่ข้างตะวันตกเป็นเขาเทือกยาว ในหนองมี
เกาะเรียกว่า ดอนตาคราม และดอนสวรรค์ เห็นฝูงม้าฝูงใหญ่ๆและฝูงโคกระบืออยู่ริมฝั่งเป็นแห่งๆ
ไปเวลาเช้า 5 โมง 40 นาที ถึงฝั่งเมืองสกลนครระยะทางข้ามนหนองประมาณ 200 เส้น พระยา
ประจันตประเทศธานี ผู้ว่าราชกาลเมือง กรมการกำนันผู้ใหญ่บ้าน ราษฎรมาคอยรับที่ท้าขึ้นมีพระ
สวดชยันโตและยิงสลุต และมีราษฎรชายข้างหนึ่ง หญิงข้างหนึ่งมาคอยรับเป็นแถวตลอดไป
ประมาณ 3,000 เศษ ถึงที่พักที่อยู่ในหมู่ที่ว่าการบริเวณ เวลาเที่ยงครึ่งมีการประชุมข้าราชการ
และพ่อค้าราษฎร ต้อนรับในปะรำใหญ่

รัชกาลที่ 6 พ. ศ.2453 ค. ศ. 1910
พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ( พ. ศ. 2453–2468)

จากเอกสาร “ บันทึกเหตุการณ์และหนังสือเข้า” ของคุณพ่อกอมบูริเออ เลขที่ 364 ลงวันที่ 1 มกราคม
ค. ศ.1911 ( พ. ศ.2453) ความว่า “ พระสุนทรธนศักดิ์ ปลัดมณฑลประจำเมืองสกลนครตอบอนุญาต
มาถึงท่านบาทหลวง เจ กอมบูริเออ ในการที่ขอให้ราษฎรบ้านนาโพธิ์เว้นการโยธาสำหรับจะได้อยู่
ู่สร้างวัด และจัดแจงถนนหนทางบ้านนาโพธิ์ให้สะอาดเรียบร้อย” ทำให้เราได้ทราบว่า
คุณพ่อกอมบูริเออ ได้นำชาวบ้านสร้างวัดหลังที่ 2 ขึ้น เป็นวัดขนาด 9 ห้องฝาขัด
แตะพอกดินเหนียว แต่ก็ไม่มีรายละเอียดอะไรมากนักเกี่ยวกับวัดหลังที่สองนี้

 

พ . ศ. 2457 ค. ศ. 1914

รัฐบาลได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองท้องที่ใหม่ ให้บ้านนาโพธิ์ ขึ้นตรงกับ
ตำบลกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร ตำบลสุมาลย์ซึ่งขึ้นกับอำเภอเมืองนครพนมก็เปลี่ยนมา
ขึ้นกับอำเภอเมืองสกลนครตามเดิม โดยในปีนทำให้บ้านนาโพธิ์ได้กำนัลคนแรกคือ กำนัน
เขียว กามดำ โดยได้ปกครองในตำแหน่งไปจนถึง พ. ศ. 2474 รวม 17 ปี

พ . ศ. 2461 ค. ศ. 1918

ยุคสงครามโลกครั้งที่ 1 ผู้คนเริ่มสูญหายและหลบภัยสงครามหนีกระจัดกระจายกันไป
( สงครามโลกครั้งที่ 1 พ. ศ. 2457 - 2461 ค. ศ. 1914-1918)

พ . ศ. 2464 ค. ศ. 1921

รัฐบาลได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษาขึ้น บังคับให้เด็กอายุ 7–14 ปี ต้องเข้าเรียน
และใช้วัดในขณะนั้นเป็นสถานที่เรียน ปรากฏว่านักเรียนรุ่นแรกของโรงเรียนประจำหมู่บ้านมี
ประมาณ 13–14 คน อายุ 16–17 ปี กันทั้งนั้น หนังสือเรียนก็มีอยู่เล่มเดียว ส่วนสมุดที่ใช้เรียน
ก็ใช้แผ่นกระดานสีดำ เขียนด้วยสอหินแทนสมุดและดินสอ เรียนเสร็จก็ลบแล้วเก็บไว้
วันใหม่ ก็ใช้เรียนต่อได้

 

พ . ศ. 2465 ค. ศ. 1922

เป็นปีที่ข้าวยากหมากแพง เกิดโจรขโมยขึ้นเต็มบ้านเต็มเมืองนักเรียนหลายคน เริ่มออกจากโรงเรียน
เพื่อไปช่วยพ่อแม่หาเลี้ยงครอบครัวเพื่อความอยู่รอด ยามค่ำคืนจะนอนก็ต้องคอยนอนกันอย่างระวัง
เวลากลางคืนหลายบ้านจะ ทำห่วงเชือกกระตุกไว้ที่ประตูทางเข้าออกของคอก
ถ้ามีขโมยก็จะพอ ช่วยให้ทันรู้ตัวได้บ้าง

 

พ . ศ.2470 ค. ศ.1927

สร้างในวัดหลังที่ 3 สมัยที่คุณพ่อฮังรี โทมิน เป็นผู้ดูแลขณะเป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสคุณ
พ่อกอมบูริเออ ที่ท่าแร่และได้รับมอบหมายให้มาทำหน้าที่ดูแลตั้งแต่ปี ค. ศ.1927
( พ. ศ.2470) แต่ไม่ปรากฎหลักฐานว่าได้เริ่มลงมือสร้างวัดใหม่ตั้งแต่เมื่อไร
ซึ่งวัด หลังดังกล่าวมีลักษณะเป็นวัดไม้ชั้นเดียว สร้างด้วยซุงขนาดใหญ่เส้นผ่าศูนย์กลาง
กว่า 50 เซนติเมตร โดยมีนายกง เนืองทองเป็นนายช่าง เสาตั้งอยู่บนฐานหินยกพื้น
สูงประมาณ1 เมตร มีโดมหอระฆังอยู่ด้านหน้าเสียดายที่วัดหลังนั้นได้พังทลายลง
เมื่อคราวเกิดพายุใหญ่ในปี ค. ศ.1970 ( พ. ศ.2513)จนใช้การไม่ได้ คุณพ่อยอแซฟ
อินตา นันสีทองเจ้าอาวาสในขณะนั้นจึงรื้อถอนและสร้างวัดไม้ชั่วคราวหลังที่สี่ขนาดกว้าง
10 เมตร ยาว 30 เมตร ยกพื้นสูงประมาณ 1 เมตรขึ้น โดยมีนายซีมอน ถนอม ถิ่นวัลย์
เป็นนายช่าง วัดชั่วคราวหลังนี้ก็ได้ใช้ในการประกอบศาสนกิจต่อมาเป็นเวลานานจนชำรุด
ทรุดโทรม และในสมัยคุณพ่อปีโอ ไอศวรรย์ จันทร์ลือชัย เป็นเจ้าอาวาสในปี ค. ศ.1985
( พ. ศ.2528)มีความพยายามจะสร้างวัดหลังใหม่แต่ไม่สำเร็จส่วนบ้านพักพระสงฆ
์หลังเก่า ซึ่งเป็นบ้านไม้สองชั้นสร้างในปีค. ศ.1956 ( พ. ศ.2499)
โดยคุณพ่อ มีคาแอลเสนีย์ สกนธวัฒน์ โดยซื้อบ้านของนางพิม ซึมเมฆแล้วนำไปดัดแปลง
ทำเป็นสองชั้น พร้อมกับสร้างโรงครัวและฉางข้าวใหญเพื่อทำเป็นธนาคาข้าว สำหรับชาวบ้าน

พ . ศ. 2474 ค. ศ. 1931

เลือกตั้งกำนันตำบลนาโพธิ์แทนตำแหน่งที่ว่างลง ได้ กำนันกง เนืองทอง ปกครองต่อ
จนถึงพ. ศ. 2484 รวม 10 ปี จากนั้นจึงทำการเลือกตั้งขึ้น และมีกำนัน มั่น มุงวงษา เป็นกำนันคนต่อมา

พ . ศ.2536 ค. ศ.1993

คุณพ่อยอห์นบัปติสต์ นรินทร์ ศิริวิริยานันท์ย้ายเป็นเจ้าอาวาสคุณพ่อได้ร่วมมือกับชาวบ้าน
ในการปรับปรุงพัฒนาวัดด้วยการสร้างบ้านพักพระสงฆ์และเตรียมการก่อสร้างวัดหลังใหม่ ก่อนจะเริ่มลงมือก่อสร้างวัดพี่น้องสัตบุรุษชาวนาโพธิ์ได้มีโอกาสร่วมโมทนาคุณพระเป็นเจ้า
ในพิธีบูชามิสซาแรกของ คุณพ่อดาเนียล ขวัญ ถิ่นวัลย์ ที่วัดหลังเก่าเมื่อวันอังคารที่ 5
เมษายน ค. ศ.1994 ( พ. ศ.2537) โดยมีบรรดาพระสงฆ์และสัตบุรุษมาร่วมเป็นจำนวนมาก
นับเป็นพระสงฆ์องค์แรกของหมู่บ้านตั้งแต่ก่อตั้งหมู่บ้านมา 105 ปี ในครั้งนั้นโดยได้รับการบวช
เป็นพระสงฆ์ใน วันพฤหัสศักดิ์สิทธิ์ วันที่ 31 มีนาคม ค. ศ.1994 ( พ. ศ.2537)
ณ ปะรำพิธี ีวัดแม่พระไถ่ทาสสองคอน โดยพระอัครสังฆราชลอเรนซ์ คายน์ แสนพลอ่อน
ที่สุดเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค. ศ.1994 ( พ. ศ.2537) การสร้างวัดหลังปัจจุบันซึ่งเป็นวัดหลังที่ 5
ได้เริ่ม ขึ้นอย่างจริงจัง โดยได้รับเงินสนับสนุนจากอัครสังฆมณฑลท่าแร่- หนองแสง โดยมีคุณพ่อ
นรินทร์ เป็นหัวแรงสำคัญในการก่อสร้างและบอกบุญไปยังผู้มีจิตศรัทธาต่างและด้วยความร่วม
แรง ร่วมใจของชาวนาโพธิ์ภายใต้การนำของอาจารย์ศรีสมุทร สวนียานันท์ เลขาธิการสภา
อภิบาลวัด การก่อสร้างวัดใหม่ได้แล้วเสร็จสมบูรณ์มีพิธีเสกและเปิดเมื่อวันที่ 20 เมษายน
ค. ศ.1995( พ. ศ.2538)โดยพระอัครสังฆราชลอเรนซ์คายนแสน์พลอ่อนและใช้เป็นศูนย์กลาง
ในการประกอบพิธีทางศาสนาของชาวนาโพธิ์เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
พร้อมกันนี้คุณพ่อนรินทร์ ได้สร้างศาลาอเนกประสงค์ใหม่บริเวณด้านข้างวัดทางทิศตะวันตก
และโรงคำสอนด้าน หลังวัดโดยใช้ไม้ ที่รื้อจากวัดเก่าด้วย


    ลำดับพระสงฆ์ผู้ดูแลและเจ้าอาวาส

                       คุณพ่อยอแซฟ กอมบูริเออ ค. ศ.1887-1901 ( พ. ศ.2430-2444)
                        คุณพ่ออัมโบรซิโอ ชื่น ค. ศ.1901 ( พ. ศ.2444)
                        คุณพ่อกาเบรียล วงศ์ ค. ศ.1901-1903 ( พ. ศ.2444-2446)
                        คุณพ่อกังเช ค. ศ.1904-1906 ( พ. ศ.2447-2449)
                        คุณพ่อบาริออล ค. ศ.1906 ( พ. ศ.2449)
                        คุณพ่ออังเยโล - มารีย์ แกวง ค. ศ.1906-1909 ( พ. ศ.2449-2452)
                        คุณพ่อลากอล์ม ค. ศ.1909 ( พ. ศ.2452)
                        คุณพ่อลากาทือ ค. ศ.1910-1911 ( พ. ศ.2453-2454)
                        คุณพ่ออาลาซาร์ ฮวด ค. ศ.1911-1915 ( พ. ศ.2454-2458)
                        คุณพ่อบูเชต์ ค. ศ.1915-1916 ( พ. ศ.2458-2459)
                        คุณพ่ออันตน หมุน ค. ศ.1916-1919 ( พ. ศ.2459-2462)
                        คุณพ่อเซเลสติโน ค. ศ.1919-1920 ( พ. ศ.2462-2463)
                        คุณพ่อเทโอฟัน ค. ศ.1920-1921 ( พ. ศ.2463-2464)
                        คุณพ่อทีโบต์ ค. ศ.1926-2927 ( พ. ศ.2469-2470)
                        คุณพ่อฮังรี โทมิน ค. ศ.1927-1939 ( พ. ศ.2470-2482)
                        คุณพ่อกาวาเยร์ ค. ศ.1939-25 พ. ย.1940 ( พ. ศ.2482-2483)
                        คุณพ่อยวง สต๊อกแกร์ 11 ม. ค.- พ. ย.1941 ( พ. ศ.2484)
                        คุณพ่ออังเยโล มาร์เกซี พ. ค.1942-20 มี. ค.1943 ( พ. ศ.2485-2486)
                        คุณพ่อยอแซฟ อินทร์ นารินรักษ์ มี. ค.- ส. ค.1943 ( พ. ศ.2486)
                        คุณพ่ออันตน คำผง กายราช ต. ค.1943-1944 ( พ. ศ.2486-2487)
                        คุณพ่อราฟาแอล คาร โสรินทร์ ค. ศ.1944 ( พ. ศ.2487)
                        คุณพ่อเปาโล ศรีนวล ศรีวรกุล ค. ศ.1944-1945 ( พ. ศ.2487-2488)
                        คุณพ่อวิกตอร์ สีนวน ถินวัลย์ ค. ศ.1945-1948 ( พ. ศ.2488-2491)
                        คุณพ่อยอห์น บัปติสต์ แท่ง ยวงบัตรี ค. ศ.1949-1952 ( พ. ศ.2492-2493)
                        คุณพ่อวิกตอร์ สีนวน ถินวัลย์ ค. ศ.1950 ( พ. ศ.2493)
                        คุณพ่ออันเดร ฟรังซิโน ค. ศ.1950 ( พ. ศ.2493)
                        คุณพ่อโมริส บริสซอง ค. ศ.1950 ( พ. ศ.2493)
                        คุณพ่อราฟาแอล คาร โสรินทร์ ค. ศ.1951 ( พ. ศ.2494)
                        คุณพ่อฮังรี บรียัง ค. ศ.1951 ( พ. ศ.2494)
                        คุณพ่อหลุยส์ เลอดึก ค. ศ.1952 ( พ. ศ.2495)
                        พระสังฆราชเกลาดิอุส บาเย ค. ศ.1952 ( พ. ศ. 2495)
                        คุณพ่อแบร์นาร์ด จักเกอแมง ธ. ค.1952- ธ. ค.1953 ( พ. ศ.2495-2496)
                        คุณพ่อราฟาแอล คาร โสรินทร์ ค. ศ.1953 ( พ. ศ.2496)
                        คุณพ่อมีคาแอล เสนีย์ สกนธวัฒน์ วาระที่ 1 ค. ศ.1953-1962 ( พ. ศ.2496-2505)
                        คุณพ่อเปาโล สมชาย สลับเชื้อ ค. ศ.1955 ( พ. ศ.2498)
                        คุณพ่อยอห์น บัปติสต์ แท่ง ยวงบัตรี ค. ศ.1955 ( พ. ศ.2498)
                        คุณพ่อซาวิโอ มนตรี มณีรัตน์ ค. ศ.1955 ( พ. ศ.2498)
                        คุณพ่อเปาโล ศรีนวล ศรีวรกุล ค. ศ.1957 ( พ. ศ.2500)
                        คุณพ่อลอเรนซ์ คายน์ แสนพลอ่อน ค. ศ.1961 ( พ. ศ.2504)
                        คุณพ่อโบรนิสลาส ปาแซ๊ก ค. ศ.1962 ( พ. ศ.2505)
                        คุณพ่อเบเนดิกต์ บุปผา สลับเชื้อ ค. ศ.1962 ( พ. ศ.2505)
                        คุณพ่อหลุยส์ ทาวาแน็ก ค. ศ.1962 ( พ. ศ.2505)
                        คุณพ่อปิแอร์ โกลาส์ ค. ศ.1963-1966 ( พ. ศ.2506-2509)
                        คุณพ่อยอแซฟ อินตา นันสีทอง ค. ศ.1966-1973 ( พ. ศ.2509-2516)
                        คุณพ่อยอแซฟ กมล เสมอพิทักษ์ ค. ศ.1974-1975 ( พ. ศ.2517-2518)
                        คุณพ่อยอห์น บันลือ เกียรติธาตรี ค. ศ.1975-1978 ( พ. ศ.2518-2521)
                        คุณพ่อมีคาแอล เสนีย์ สกนธวัฒน์ วาระที่ 2 ค. ศ.1978-1979 ( พ. ศ.2521-2522)
                        คุณพ่อเปาโล สมพร อุปพงศ์ ค. ศ.1979-1980 ( พ. ศ.2522-2523)
                        คุณพ่อยอแซฟ ธีระยุทธ อนุโรจน์ ค. ศ.1980-1985 ( พ. ศ.2523-2528)
                        คุณพ่อปีโอ ไอศวรรย์ จันทร์ลือชัย ค. ศ.1985-1988 ( พ. ศ.2528-2531)
                        คุณพ่ออันตน สาคร อุ่นหล้า ค. ศ.1988-1989 ( พ. ศ.2531-2532)
                        คุณพ่อเปาโล พิชิต ศรีอ่อน ค. ศ.1989-1993 ( พ. ศ.2532-2536)
                        คุณพ่อยอห์น บัปติสต์ นรินทร์ ศิริวิริยานันท์ ค. ศ.1993-1998 ( พ. ศ.2536-2541)
                        คุณพ่อลูกา สุพล ยงบรรทม ค. ศ.1998-2003 ( พ. ศ.2541-2546)
                        คุณพ่อฟรังซิสเซเวียร์คัมภ์ศรณ์ กาแก้ว ค.ศ. 2003 - 2008 ( พ.ศ. 2546 - 2551)
                        คุณพ่อลอเรนซ์ ชำนาญ บัวขันธ์ ค.ศ.2008 - 2013
                        คพ.ไพศาล ว่องไว ค.ศ.2013-2013
                        คพ.ธัญญา ศรีอ่อน 1 สิงหาคม 2013- ปัจจุบัน

 

ลำดับพระสงฆ์ผู้ดูแลและเจ้าอาวาส

 


1. คุณพ่อยอแซฟ กอมบูริเออ
ค . ศ .1887-1901 ( พ . ศ .2430-2444)


2.  คุณพ่ออัมโบรซิโอ ชื่น
ค . ศ .1901 ( พ . ศ .2444)

3. คุณพ่อกาเบรียล วงศ์
ค . ศ .1901-1903 ( พ . ศ .2444-2446)


4 คุณพ่อกังเช
ค . ศ .1904-1906 ( พ . ศ .2447-2449)

5.  คุณพ่อบาริออล
ค . ศ .1906 ( พ . ศ .2449)


6. คุณพ่ออังเยโล - มารีย์ แกวง
ค . ศ .1906-1909 ( พ . ศ .2449-2452)

7.  คุณพ่อลากอล์ม
ค . ศ .1909 ( พ . ศ .2452)

8. คุณพ่อลากาทือ
ค . ศ .1910-1911 ( พ . ศ .2453-2454)

9.  คุณพ่ออาลาซาร์ ฮวด
ค . ศ .1911-1915 ( พ . ศ .2454-2458)

10. คุณพ่อบูเชต์
ค . ศ .1915-1916 ( พ . ศ .2458-2459)

11. คุณพ่ออันตน หมุน
ค . ศ .1916-1919 ( พ . ศ .2459-2462)

12. คุณพ่อเซเลสติโน
ค . ศ .1919-1920 ( พ . ศ .2462-2463)

13.  คุณพ่อเทโอฟัน
ค . ศ .1920-1921 ( พ . ศ .2463-2464)

14.  คุณพ่อทีโบต์
ค . ศ .1926-2927 ( พ . ศ .2469-2470)


15.  คุณพ่อฮังรี โทมิน
ค . ศ .1927-1939 ( พ . ศ .2470-2482)

16.  คุณพ่อกาวาเยร์
ค . ศ .1939-25 พ . ย .1940 ( พ . ศ .2482-2483)


17. คุณพ่อยวง สต๊อกแกร์
11 ม . ค .- พ . ย .1941 ( พ . ศ .2484)

18.  คุณพ่ออังเยโล มาร์เกซี
พ . ค .1942-20 มี . ค .1943 ( พ . ศ .2485-2486)


19. คุณพ่อยอแซฟ อินทร์ นารินรักษ์
มี . ค .- ส . ค .1943 ( พ . ศ .2486)

 


20.  คุณพ่ออันตน คำผง กายราช
ต . ค .1943-1944 ( พ . ศ .2486-2487)



21.  คุณพ่อราฟาแอล คาร โสรินทร์
ค . ศ .1944 ( พ . ศ .2487)




22.  คุณพ่อเปาโล ศรีนวล ศรีวรกุล
ค . ศ .1944-1945 ( พ . ศ .2487-2488)




23.  คุณพ่อวิกตอร์ สีนวน ถินวัลย์
ค . ศ .1945-1948 ( พ . ศ .2488-2491)




24.  คุณพ่อยอห์น บัปติสต์ แท่ง ยวงบัตรี
ค . ศ .1949-1952 ( พ . ศ .2492-2493)

25.  คุณพ่อวิกตอร์ สีนวน ถินวัลย์
ค . ศ .1950 ( พ . ศ .2493)

26.  คุณพ่ออันเดร ฟรังซิโน
ค . ศ .1950 ( พ . ศ .2493)

27. คุณพ่อโมริส บริสซอง
ค . ศ .1950 ( พ . ศ .2493)

28. คุณพ่อราฟาแอล คาร โสรินทร์
ค . ศ .1951 ( พ . ศ .2494)

29.  คุณพ่อฮังรี บรียัง
ค . ศ .1951 ( พ . ศ .2494)

30. คุณพ่อหลุยส์ เลอดึก
ค . ศ .1952 ( พ . ศ .2495)




31.  พระสังฆราชเกลาดิอุส บาเย
ค . ศ .1952 ( พ . ศ . 2495)

32. คุณพ่อแบร์นาร์ด จักเกอแมง
ธ . ค .1952- ธ . ค .1953 ( พ . ศ .2495-2496)

33. คุณพ่อราฟาแอล คาร โสรินทร์
ค . ศ .1953 ( พ . ศ .2496)




34.  คุณพ่อมีคาแอล เสนีย์ สกนธวัฒน์
วาระที่ 1 ค . ศ .1953-1962 ( พ . ศ .2496-2505)


35. คุณพ่อเปาโล สมชาย สลับเชื้อ
ค . ศ .1955 ( พ . ศ .2498)

36. คุณพ่อยอห์น บัปติสต์ แท่ง ยวงบัตรี
ค . ศ .1955 ( พ . ศ .2498)

37.  คุณพ่อซาวิโอ มนตรี มณีรัตน์
ค . ศ .1955 ( พ . ศ .2498)

38.  คุณพ่อเปาโล ศรีนวล ศรีวรกุล
ค . ศ .1957 ( พ . ศ .2500)



39. คุณพ่อลอเรนซ์ คายน์ แสนพลอ่อน
ค . ศ .1961 ( พ . ศ .2504)

40.  คุณพ่อโบรนิสลาส ปาแซ๊ก
ค . ศ .1962 ( พ . ศ .2505)



41. คุณพ่อเบเนดิกต์ บุปผา สลับเชื้อ
ค . ศ .1962 ( พ . ศ .2505)

42.  คุณพ่อหลุยส์ ทาวาแน็ก
ค . ศ .1962 ( พ . ศ .2505)



43. คุณพ่อปิแอร์ โกลาส์
ค . ศ .1963-1966 ( พ . ศ .2506-2509)




44.  คุณพ่อยอแซฟ อินตา นันสีทอง
ค . ศ .1966-1973 ( พ . ศ .2509-2516)




45. คุณพ่อยอแซฟ กมล เสมอพิทักษ์

ค . ศ .1974-1975 ( พ . ศ .2517-2518)




46.  คุณพ่อยอห์น บันลือ เกียรติธาตรี
ค . ศ .1975-1978 ( พ . ศ .2518-2521)




คุณพ่อมีคาแอล เสนีย์ สกนธวัฒน์ วาระที่
2 ค . ศ .1978-1979 ( พ . ศ .2521-2522)



47.  คุณพ่อเปาโล สมพร อุปพงศ์
ค . ศ .1979-1980 ( พ . ศ .2522-2523)



48. คุณพ่อยอแซฟ ธีระยุทธ อนุโรจน์
ค . ศ .1980-1985 ( พ . ศ .2523-2528)



49. คุณพ่อปีโอ ไอศวรรย์ จันทร์ลือชัย
ค . ศ .1985-1988 ( พ . ศ .2528-2531)

50.  คุณพ่ออันตน สาคร อุ่นหล้า
ค . ศ .1988-1989 ( พ . ศ .2531-2532)


51. คุณพ่อเปาโล พิชิต ศรีอ่อน
ค . ศ .1989-1993 ( พ . ศ .2532-2536)



52. คุณพ่อยอห์น บัปติสต์ นรินทร์ ศิริวิริยานันท์
ค . ศ .1993-1998 ( พ . ศ .2536-2541)



53.  คุณพ่อลูกา สุพล ยงบรรทม
ค . ศ .1998-2003 ( พ . ศ .2541-2546)



54.  คุณพ่อฟรังซิสเซเวียร์ คัมศรณ์ กาแก้ว
ค . ศ . 2003 - 2008 (พ.ศ.2546-2551)



55.คุณพ่อลอเรนซ์ ชำนาญ บัวขันธ์
ค.ศ.2008 -2013



56.คพ.ไพศาล ว่องไว
 5 กรกฏาคม 2556
ค.ศ.2013-2013


57. คพ.ธัญญา ศรีอ่อน
1 สิงหาคม 2013- ปัจจุบัน

 

รายนามพระสงฆ์ลูกวัด

คุณพ่อดาเนียล ขวัญ ถิ่นวัลย์ บวช 31 มี. ค.1994




คุณพ่อโทมัส ภัคพล มหัตกุล บวช 31 พ.ค. 2008



คุณพ่อ
ฟรังซิส อัสซีซี ญาณารณพ มหัตกุล
ลูกวัดคาทอลิกนาโพธิ์
รับศิลบวชเมื่อ เมื่อ 1 พ.ค.2010

 

รายนามซิสเตอร์ - นักบวช ลูกวัด


ซิสเตอร์สังวาลย์ เนืองทอง

 
ซิสเตอร์นวลมณี  ถิ่นวัลย์



ซิสเตอร์ส่องแสง ถิ่นวัลย์


ซิสเตอร์รัตนากร มหัตกุล



เซอร์วรรณา  เนืองทอง


 

 




ฟังเล่าประวัติหมู่บ้านภาษาภูไท




 

 

อ่านประวัติหน้าแรก       กลับหน้าหลัก 


 
 

 
 

ซิสเตอร์
สังวาลย์ เนืองทอง


ซิสเตอร์
นวลมณี ถิ่นวัลย์




ซิสเตอร์
ส่องแสง ถิ่นวัลย์


ซิสเตอร
โลซาแห่งลีมา
รัตนากร มะหัตกุล




เซอร์
วรรณา เนืองทอง




  ประมวลภาพ ตลาดนัด เช้า ครั้งที่ 12
ตลาดสาธิตเศรษฐกิจพอเพียงสู่ เออีซี
ตำบลนาโพธิ์ หรือ ตลาดพอเพียงโพธิ์ทอง


เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 12 มิถุนายน 2557


สมาคมนักข่าวหนังสือพิมพ์
วิทยุและโทรทัศน์ จังหวัดสกลนคร

ร่วมงานแถลงข่าว
Robinson Futsal Cup 2014
ณ โรบินสัน สาขาสกลนคร
เมื่อวันอังคารที่10 มิถุนายน 2557


ประมวลภาพ ตลาดนัด เช้า ครั้งที่ 11
ตลาดสาธิตเศรษฐกิจพอเพียงสู่ เออีซี
ตำบลนาโพธิ์ หรือ ตลาดพอเพียงโพธิ์ทอง


เมื่อวันอาทิตย์ที่ 5 มิถุนายน 2557

ประมวลภาพ คสช
คืนความสุขสู่ประชาชน

ณ ศาลาประชาคม วัดคาทอลิกนาโพธิ์
มีผู้ร่วมงาน ราว 300 คน
เมื่อวันพุธที่ 4 มิถุนายน 2557


สรุปผลการปฎิบัติงานสหกรณ์
เครดิตยูเนี่ยนนาโพธิ์ 125 จำกัด
ระดับกลุ่ม รายการรับวันนี้
จำนวน 36,199 บาท
อนุมัติเงินกู้ 115,500 บาท


อาทิตย์ต้นเดือนที่ 1 มิถุนายน 2557


ประมวลภาพ ตลาดนัด เช้า ครั้งที่ 3
ตลาดสาธิตเศรษฐกิจพอเพียงสู่ เออีซี
ตำบลนาโพธิ์ หรือ ตลาดพอเพียงโพธิ์ทอง


เมื่อวันอาทิตย์ที่ 1 มิถุนายน 2557


ประมวลภาพ ตลาดเย็น ครั้งที่ 10
ตลาดสาธิตเศรษฐกิจพอเพียงสู่ เออีซี ตำบลนาโพธิ์

หรือ ตลาดพอเพียงโพธิ์ทอง

เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 29 พฤษภาคม 2557


รวมประกาศ
คณะรักษาความสงบแห่งชาต
(สื่อ-สหกรณ์)
National peace and Order Maintaining Council 24/05/2557

ประกาศ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 32 /2557


ประมวลภาพ ตลาดเย็น ครั้งที่ 9
ตลาดพอเพียงโพธิ์ทอง

เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 22 พฤษภาคม 2557


พล.ต.ธนกร จงอุส่าห์
ผู้บังคับการจังหวัดทหารบกสกลนคร
ประธาน กอ.รส. จังหวัดนัดหมายพบสื่อมวลชน

ณ สโมสรทหารจังหวัดสกลนคร
เมื่อ 21 พฤษภาคม 2557
โดยมีผู้เข้าร่วมประมาณ160คน






ประมวลภาพ ตลาดเย็น ครั้งที่ 6
ตลาดสาธิตเศรษฐกิจพอเพียงสู่ เออีซี
ตำบลนาโพธิ์


หรือ ตลาดพอเพียงโพธิ์ทอง
เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2557


ประกาศสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
นาโพธิ์ 125 จำกัด
แจ้งผลการดำเนินงานระดับกลุ่ม

เมื่อวันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2557
(วันอาทิตย์ต้นเดือน)


ตลาดเช้า และตลาดเย็น
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 1 พฤษภาคม 2557
เวทีและบรรยากาศตลาดพอเพียงโพธิ์ทอง
ที่นาโพธิ์ เมื่อ 1 พฤษภาคม 2557

ขอขอบคุณ ศิลปิน ครูเพลงและพิธีกร
แดน ดวงตะวัน, หรั่ง มงคล อาจารย์โย
บ่าวยะ ชมรมคนรักศิล พระอาจารย์ประถม



:: ปฏิทินสงฆ์สัมพันธ์
   อัครสังฆมณฑลท่าแร่-หนองแสง ::


สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนนาโพธิ์ 125 จำกัด
เข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2557
ชุมนุมสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนฯ
ณ โรงแรม ทาวน์ อิน ทาวน์ กทม.


เมื่อวันเสาร์ที่ 26 เมษายน 2557/2014


ผู้ว่าราชการจังหวัดสกลนคร
แถลงข่าวประชาสัมพันธ์
การระดมทุนเพื่อบูรณะฯ
ยอดฉัตรองค์พระธาตุเชิงชุม

องค์พระธาตุเชิงชุม เมื่อ 24 ม.ย.2557


แนะนำปุ๋ยอินทรีย
์ตราสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
กระสอบละ 400 บาท

สอบถามและสั่งซื้อได้ที่
089 863 3349


ประมวลภาพ
พิธีล้างเท้าอัครสาวกพิธีเฝ้าศิล
ที่วัดนาโพธิ์ 2014


เมื่อวันพฤหัสบดีศักดิ์สิทธิ์
17 เมษายน 2557



ตลาดพอเพียงโพธิืทอง
ทุกเย็นวัน พฤหัสบดี
ตลาดเช้าทุกวันที่ 1 ของเดือน



ชมประมวลภาพ พิธีรดน้ำขอพร ผู้สูงอายุ วันสงกรานต์
ณ ศาลาวัดคาทอลิกนาโพธิ์


อำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร
เมื่อวันอาทิตย์ีที่ 13 เมษายน 255
7

ชมประมวลภาพ พิธีแห่ใบลาน
วัดคาทอลิกนาโพธิ์ ตำบลนาโพธิ์
อำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร


เมื่อวันอาทิตย์ที่ 13 เมษายน 2557


สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนนาโพธิ์ 125 จำกัด
นายประสงค์ เนืองทอง ประธานกรรมการ
และคณะกรรมการบริหาร

ออกหน่วยสร้างความรู้ความเข้าใจ
กระบวนการสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
และรับสมัครสมาชิกใหม่ณ
ที่ทำการผู้ใหญ่บริสุทธิ์ ผาละพัง
ผู้ใหญ่บ้าน หมู่3 บ้านบอน

วันอังคารที่ 8 เมษายน 2557
มอบสวัสดิการ สก.2 แก่สมาชิก
ชมสรุปผลและภาพกิจกรรม

วันอาทิตย์ที่ 6 เมษายน 2557
วันอาทิตย์ต้นเดือน


ประมวลภาพพิธีเปิดโครงการ
ตลาดสาธิตเศรษฐกิจพอเพียงสู่เออีซี ตำบลนาโพธิ์

คุณพ่อชำนาญ บัวขันธ์
ประธานพิธีและที่ปรึกษา
เป็นประธานกรรมการ
เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2557

ประกาศสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนนาโพธิ์ ฯ
แจ้งผลการดำเนินงานระดับกลุ่ม
เมื่อสิ้นเดือน กุมภาพันธ์ 2557

และวันอาทิตย์ที่ 2 มีนาคม 2557 วันอาทิตย์ต้นเดือ



:: ปฏิทินสงฆ์สัมพันธ์
   อัครสังฆมณฑลท่าแร่-หนองแสง ::



เปิดสอนการใช้โปรแกรมและการสร้างเว็บเพจ
การเชื่อมต่อและส่งข้อมูล ภาพ เสียง วีดีโอ ขึ้นเว็บตัวเอง
การทำ วิทยุ ออนไลน์ และ วิดีโอออนไลน์

และแนะนำการใช้งานโปรแกรมที่เกี่ยวข้อง
7-11 เมษายน 2557
ระหว่างเวลา 13.30 - 15.30 น.
รับประกัน ใช้งานได้ 100 %

 

ชมประมวลภาพงาน
"สายสัมพันธ์วันนักข่าว"

สมาคมนักข่าวฯ สกลนคร
เมื่อ 5 มีนาคม 2557



ต้องการขายบ้าน 1,500,000.-
ที่ศรีสงคราม จ.นครพนม

รายละเอียด

ร่วมประชุมสมาคมนักข่าวฯ
จังหวัดสกลนคร จัดงานวันนักข่าว
5 มีนาคม 2557

ณศูนย์ศึกษาพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ บ้านนานกเค้า ต.ห้วยยาง

อ.เมือง จ.สกลนคร
บัตรราคา โต๊ะละ ๒,๔๐๐ บาท
สอบถามที่ ๐๘๑-๐๕๑๘๑๑๕



:: ปฏิทินสงฆ์สัมพันธ์
   อัครสังฆมณฑลท่าแร่-หนองแสง ::




นายประสงค์ เนืองทอง ประธานกรรมการ และคณก.ฯ

ร่วมแสดงความอาลัย
นายสมคิด หงษ์ศรีเมือง
สมาชิกเครดิตฯเสียชีวิต
เมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2557


ประมวลภาพฉลองวัดคาทอลิกนาโพธิ์
14 กุมภาพันธ์ 2014


ชมหน้า 1


ประมวลภาพฉลองวัดคาทอลิกนาโพธิ์
14 กุมภาพันธ์ 2014

ชมหน้า
2

บัดนี้ คณะกรรมการฯ
ได้ดำเนินการจดทะเบียน
เป็นสหกรณ์แล้ว

เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2556ในชื่อ
“สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนนาโพธิ์125 จำกัด”

: ปฏิทินสงฆ์สัมพันธ์
   อัครสังฆมณฑล
   ท่าแร่-หนองแสง ::


ชมการเล่นสะโลอ๊อหรือสะลา
ฟังประวัติความเป็นมา

ของชาวโส้บ้านโคกม่วง
ต.นาโพธิ์ อ.กุสุมาลย์ จ.สกลนคร



วันนี้ วันอาทิตย์ที่ 26 มกราคม 2557
ผมเลือกใช้ NanoBridge M5-25
เพื่อติดตั้งระบบ ส่ง Wifi
ระยะไกล 4.4 Km.


ประมวลภาพ พิธีฌาปนกิจศพ
คุณพ่อสมวน สุวรรณคำ

(บิดาคุณรัชนี สุวรรณคำ
ผู้ก่อตั้งนาโพธิ์เรดิโอ)

เมื่อ 25 มกราคม 2557


การประชุมใหญ่ครั้งแรก
สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนนาโพธิ์
๑๒๕ จำกัด


๒๔ มกราคม ๒๕๕๗


พิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ โอกาส ทำบุญโรงเรียน ประจำปี 2557

คุณพ่อ ธัญญา ศรีอ่อน
เจ้าอาวาสวัดนาโพธิ์ ประธานพิธ
วันจันทร์ที่ 20 มกราคม 2557


 




  ลาทีปีเก่า 2556   บ้านของเรา...ครอบครัวของเรา

เมื่อ 31 ธันวาคม 2013

Thailand Christmas Festival 2013
สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย
ขอเชิญรับชมบรรยา กาศค่ำคืน
วันคริสต์มาส 23 ธันวาคม ค.ศ. 2013


รับชมภาพการแห่ดาว
จากอาสนวิหารอัครเทวดามีคาแอลท่าแร่



ชมภาพโครงการ ทำความดีเชิดชูบูชาพ่อ2554

-โครงการ
- คำมงคล ที่ศาสตราจารย์ ดร.ระพี สาคริก
- ผู้แจ้งความประสงค์จัดตั้งโรงทานปี 2554
-
ประมวลภาพกิจกรรมที่ 1 ศาสนพิธี
 
วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม 2554
- สรุปและประมวลภาพกิจกรรมที่ 2 โรงทาน

สรุปและประมวลภาพงานเชิดชูบูชาพ่อ
และ 9 ปีนาโพธิ์เรดิโอ
กิจกรรมที่ 2 
วาดภาพ ร้องเพลง โรงทาน
หมอลำย้อนยุค 

เมื่อ 8 ธันวาคม 255
6




ชมการเล่นสะโลอ๊อหรือสะลา
ประวัติและวิธีการเล่น
ของชาวไทโส้บ้านโคกม่วง
ต.นาโพธิ์ อ.กุสุมาลย์ จ.สกลนคร

ขาย สินค้าชุมชน
(รายละเอียดชมสินค้าและ
OTOP ชุมชน )
08 3290 1164 ตลอดปี


งานมหกรรมบัว
    อุทยานบัวหนองหาร
    วันแรก 2010-10-20

 
ยือนถิ่นภารตะ สักการะสถาน
   ประสูติตรัสรู้และปรินิพพาน
   ตอน เยี่ยมบ้านนางสุชาดา

  ประวัติความเป็นมาวันคริสต์มาส

  เยือนถิ่นภารตะ สักการะสถาน
    ประสูติตรัสรู้ และปรินิพพาน
    ตอน แม่น้ำเนรัญชรา


สารนาถ ธรรมเมกขสถูป
    สถูปผู้เห็นธรรม
    ศาสนสถานโบราณ


รวมบทความ
และภาพประทับใจ
คุณพ่อขวัญ ถิ่นวัลย์
วันแรกที่โรม
ตุลาคม 2007
พิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ
เปิดปีการศึกษา 2009-2010
และอำลาพี่น้องคนไทยในโรม
คุณพ่อขวัญ ถิ่นวัลย์
พุทธคยา สถานที่ตรัสรู้
    ของพระพุทธเจ้า
    ประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน


 

ฟังเพลงกับ....
หนุ่มน้อย คนภูไท
นาโพธิ์ถิ่นภูไท
ภูไทสัมพันธ์
ภูไทใจช้ำ

เยือนสิงคโปร์

20 กันยายน 2012

รสชาดโจ๊กกบหม้อดิน

ที่ Lavender สิงคโปร์

วันชื่น-คืนสุข

Sheraton Tower Singapore
22 กันยายน 2
012

เที่ยวเกาะมหาสนุก

Sentosa 21 กันยาย 2012   

naphoradio WiFi ติดตั้ง
ชุดเชื่อมโยงเครือข่ายไร้สาย
ระยะไกล10-30 กิโลเมตร

ส่งไปที่ศูนย์ฯวังสวนกล้วย
เมื่อ ศุกร์ที่ 16 สิงหาคม 2556


 

เกี่ยวกับวิทยุ


 
 
เพื่อนบ้านของเร

โรงเรียนกุสุมาลย์วิทยาคม
 โรงเรียนไพศาลวิทยา
โรงเรียนบ้านกุดฮู
โรงเรียนบ้านบอนสหราษฎร์ฯ
โรงเรียนบ้านม่วง
โรงเรียนบ้านอีกุด
โรงเรียนบ้านโคกม่วง
โรงเรียนอนุบาลย์กุสุมาลย์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
ม.เกษตรศาสตร์ ฉกส.
สนง.ขนส่งจังหวัดสกลนคร
ตำรวจภูธรจังหวัดสกลนคร
อบจ.วัดสกลนคร
ประชาสัมพันธ์จังหวัดสกลนคร
ท้องถิ่นจังหวัดสกลนคร
สถานีตำรวจภูธร อ.กุสุมาลย์
เทศบาลตำบลกุสุมาลย์
เทศบาลตำบลท่าแร่
เทศบาลตำบลเชียงเครือ

สพท.สกลนคร เขต 1
สพท.สกลนคร เขต 2
สพท. สกลนคร เขต 3
มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย
จังหวัดสกลนคร
จังหวัดนครพนม
พัฒนาชุมชนจังหวัดสกลนคร
โรงพยาบาลกุสุมาลย์
โรงพยาบาลสกลนคร
สำนักงานสาธารณสุขสกลนคร
คลื่นวิทยุระบบ FM.
     และวิทยุชุมชนจังหวัดสกลนคร
    (แยกรายอำเภอและคลื่นความถี่)

คนเขียนเพลง(ทีมงานครูสลา)
108 อาชีพ

ธนาคาร อัตราแลกเปลียน
อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา
 ธนาคารแห่งประเทศไทย
ธนาคารกรุงเทพฯ
ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารไทยพาณิิชย์
 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
 บมจ.ธนาคารกรุงไทย
 ธนาคารกสิกรไทย
 ธนาคารเพื่อการเกษตรฯ
ธนาคารออมสิน
ธนาคารเพื่อการส่งออก
      และนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารนครหลวงไทย
นาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด
 นครธน จำกัด (มหาชน)
 ธนาคารเอเชียจำกัด(มหาชน)
 ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ
     ขนาดกลางและขนาดย่อมฯ
ซิตี้แบงค์ ไทยแลนด์
ธนาคารกรุงไทย ชาริอะฮ์
ธนาคารธนชาตจำกัด(มหาชน)
ธนาคารยูโอบี รัตนสิน
ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย
 ธนาคารไทยธนาคาร จำกัด
      (มหาชน
)




อุตุนิยมวิทยา


กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา

1
ดาวน์โหลดโทรฟรีทั่
วโลก
ส่วนราชการ หน่วยงาน
สำนักพระราชวัง
รัฐบาลไทย
สำนักนายกรัฐมนตร
นักเรียนไทยในสหรัฐฯ
กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงกลาโหม
กระทรวงการคลัง
กระทรวงการต่างประเทศ
กระทรวงพัฒนาสังคม
      และความมั่นคงของมนุษย์
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงการท่องเที่ยว-กีฬา
กระทรางเกษตรฯ
กระทรวงคมนาคม
กระทรวงทรัยพากรฯ
     และสิ่งแวดล้อ
กระทรวงพลังงาน
กระทรวงพาณิชย์
กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงยุติธรรม
กระทรวงแรงงาน
กระทรวงวิทยาศาสตร์
    และเทคโนโลย
กระทรวงอุตสาหกรรม
กระทรวงเทคโนโลยี
     สารสนเทศและการสื่อสาร
กระทรวงวัฒนธรรม
สนง.หลักประกันสุขภาพฯ
กรมประชาสัมพันธ์
กทช.
กรมพัฒนาชุมชน
กรมสรรพากร
สำนักงานสลากกินแบ่งฯ
สำนักงาน ป.ป.ส.
การท่องเทียวฯ
หนังไทยในอดีต
สปสช.เขต 8 อุดรธานี
 
 

 
 

www.free-counter-plus.com
Update 2015-04-13
เริ่มใช้เมื่อ 7 ธันวาคม 2550